ឈូក៤ទង บัวสี่เหล่า
បុគ្គល៤ចំពូក (តាមឧគខដិតញ្ញូសូត្រ)
ក្នុងព្រះត្រៃបិដក ព្រះពុទ្ធអង្គបានពិចារណាការនិមន្តរបស់ ទាវសហម្បតីព្រាហ្ម ដេីម្បី ឲ្យព្រះអង្គសម្តែងធម៌។ ព្រះអង្គទ្រង់ពិចារណា ពិនិត្យសត្វលោកដោយ ព្រះចក្សុ (បញ្ញាញាណ) របស់ព្រះអង្គ ហេីយទតថាសត្វលោកដែលនៅ (អាច) អប់រំបាន(ហៅថាវេនៃយសត្វ) ប្រៀបនិងផ្កាឈូក៣ចំពូក ដូចមានតទៅនេះ៖
១. ឧគ្គដិតញ្ញូ - ពួកនេះមានសតិប្រាជ្ញាឆ្លាត វាងវៃ មានសម្មាទិដ្ឋិ (សេចក្ដីយល់ឃើញត្រូវ) បេីបានស្តាប់ធម៌ហេីយអាចយល់ ដឹងបានយ៉ាងឆាប់រហ័ស។ ពួកនេះប្រៀបបាននិងផ្កាឈូកដែលលូតផុតទឹក នៅពេលត្រូវពន្លឺព្រះអាទិត្យក៏រីកភ្លាម។
២. វិបចិតញ្ញូ - ពួកនេះមានសតិបញ្ញាល្អ មានសម្មាទិដ្ឋិ (សេចក្ដីយល់ ឃើញត្រូវ) បេីបានស្តាប់ធម៌ ពិចារណារួចល្អិតល្អន់ ហេីយប្រតិបត្តិបន្ថែម នឹងអាចដឹងហេីយយល់ក្នុងពេលដ៏ខ្លី។ ពួកនេះប្រៀបបានទៅនិងផ្កាឈូកនៅស្មេីនិងទឹកដែលនឹងរីកនៅនៅពេលឆាប់ៗនេះ។
៣. នេយ្យ - ពួកនេះមានសតិបញ្ញាតិច បុ៉ន្តែមានសម្មាទិដ្ឋិ សេចក្ដីយល់ឃើញត្រូវ; បេីបានស្តាប់ធម៌ ពិចារណារល្អិតល្អន់រួច ហេីយបានទទួលការអប់រំ ប្រតិបត្តិយា៉ងទៀងទាត់ មានការព្យាយាមមិនរុញរា មានសតិរឹងមាំប្រកបដោយសទ្ធា ការជឿជាក់ (បសាទ) នៅចុងក្រោយ ក៏អាចដឹងហេីយយល់ធម៌នៅថ្ងៃណាមួយ ក្នុងអនាគតជាពំុខាន។ ពួកនេះប្រៀបបាននិងផ្កាឈូូកនៅក្នុងទឹក ដែលកំពុងព្យាយាមលូតឡេីងឲ្យផុតទឹកហេីយនិងរីកនៅថ្ងៃណាមួយ។
៤. បទបរមៈ - ពួកនេះខ្វះបញ្ញា ថែមទាំងមានមិច្ឆាទិដ្ឋិ គឺការយល់ខុសទៀត; សូម្បីតែស្តាប់ធម៌ ក៏មិនអាចយល់ន័យរបស់ធម៌ឲ្យដល់ជម្រៅ ថែមទាំងខ្វះសទ្ធា ខ្វះការជឿជាក់ (បសាទ) ព្រមទាំងខ្វះការព្យាយាម។ ពួកនេះប្រៀបបានទៅនិងផ្កាឈូក កប់នៅក្នុងភក់ ដែលអាចនឹងក្លាយទៅជាចំណីសត្វត្រី ហេីយនឹងមិនមានឳកាសលូតឲ្យផុតពីទឹកបាន។
សុំទោសបេីខុសពាក្យបាលី; ខ្ញុំមិនមែនអ្នករៀនបាលី ខ្ញុំប្រែឲ្យស្តាប់បាន។
บัวสามเหล่า (ตามโพธิราชกุมารสูตร
ในพระไตรปิฏก พระพุทธองค์ทรงพิจารณาตามคำเชื้อเชิญของท้าวสหัมบดีพรหมที่เชิญให้พระองค์แสดงธรรม พระพุทธองค์จึงทรงพิจารณาตรวจสัตวโลกด้วยพุทธจักษุ และทรงเห็นว่าสัตวโลกที่ยังสอนได้มีอยู่ (เรียกว่าเวไนยสัตว์) เปรียบด้วยดอกบัว 3 จำพวก ดังความต่อไปนี้[4]
4
... ครั้นอาตมภาพทราบว่าท้าวสหัมบดีพรหมอาราธนา และอาศัยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย จึงตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ. เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี เปรียบเหมือนในกอบัวขาบ ในกอบัวหลวง หรือในกอบัวขาว ดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ซึ่งเกิดในน้ำ เจริญในน้ำ บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำ จมอยู่ในน้ำ น้ำหล่อเลี้ยงไว้ บางเหล่า ตั้งอยู่เสมอน้ำ บางเหล่า ตั้งขึ้นพ้นน้ำ น้ำไม่ติด ฉันใด ดูกรราชกุมาร เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ฉันนั้น ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี...
— 'มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงเปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า'
ในพระไตรปิฏก พระพุทธองค์ทรงพิจารณาตามคำเชื้อเชิญของท้าวสหัมบดีพรหมที่เชิญให้พระองค์แสดงธรรม พระพุทธองค์จึงทรงพิจารณาตรวจสัตวโลกด้วยพุทธจักษุ และทรงเห็นว่าสัตวโลกที่ยังสอนได้มีอยู่ (เรียกว่าเวไนยสัตว์) เปรียบด้วยดอกบัว 3 จำพวก ดังความต่อไปนี้[4]
4
... ครั้นอาตมภาพทราบว่าท้าวสหัมบดีพรหมอาราธนา และอาศัยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย จึงตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ. เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี เปรียบเหมือนในกอบัวขาบ ในกอบัวหลวง หรือในกอบัวขาว ดอกบัวขาบ ดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ซึ่งเกิดในน้ำ เจริญในน้ำ บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำ จมอยู่ในน้ำ น้ำหล่อเลี้ยงไว้ บางเหล่า ตั้งอยู่เสมอน้ำ บางเหล่า ตั้งขึ้นพ้นน้ำ น้ำไม่ติด ฉันใด ดูกรราชกุมาร เมื่ออาตมภาพตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ก็ฉันนั้น ได้เห็นหมู่สัตว์ซึ่งมีกิเลสดุจธุลีในจักษุน้อยก็มี มีกิเลสดุจธุลีในจักษุมากก็มี มีอินทรีย์แก่กล้าก็มี มีอินทรีย์อ่อนก็มี มีอาการดีก็มี มีอาการเลวก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ง่ายก็มี จะพึงสอนให้รู้ได้ยากก็มี บางพวกมีปกติเห็นโทษในปรโลกโดยเป็นภัยอยู่ก็มี...
— 'มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ทรงเปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า'
บุคคลสี่จำพวก (ตามอุคฆฏิตัญญุสูตร)[แก้]
อุคฆฏิตัญญุสูตรและมโนรถปูรณีได้อธิบายบุคคล 4 จำพวก ไว้ดังนี้[5]
อุคฆฏิตัญญุสูตรและมโนรถปูรณีได้อธิบายบุคคล 4 จำพวก ไว้ดังนี้[5]
1. อุคคฏิตัญญู - พวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้ และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันที
2. วิปจิตัญญู - พวกที่มีสติปัญญาดี เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม จะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ช้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำซึ่งจะบานในวันถัดไป
3. เนยยะ - พวกที่มีสติปัญญาน้อย แต่เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธา ปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ซึ่งจะค่อยๆ โผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่ง
4. ปทปรมะ - พวกที่ไร้สติปัญญา และยังเป็นมิจฉาทิฏฐิ แม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซึ่งความเพียร เปรียบเสมือนดอกบัวที่จมอยู่กับโคลนตม ยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลา ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบาน
3 จำพวกแรกเรียกว่าเวไนยสัตว์ (ผู้แนะนำสั่งสอนได้) ส่วนปทปรมะเป็นอเวไนยสัตว์ (ผู้ไม่อาจแนะนำสั่งสอนได้)
บัวสี่เหล่า (ตามนัยสุมังคลวิลาสินี)
3 จำพวกแรกเรียกว่าเวไนยสัตว์ (ผู้แนะนำสั่งสอนได้) ส่วนปทปรมะเป็นอเวไนยสัตว์ (ผู้ไม่อาจแนะนำสั่งสอนได้)
บัวสี่เหล่า (ตามนัยสุมังคลวิลาสินี)
Comments